โครงการCPTPP ไทยเข้าร่วมเพื่ออะไรมีข้อเสียหรือได้มากน้อยเพียงใด?

โครงการCPTPP  ตั้งแต่ปี2549กระทรวงสาธารณสุขได้ใช้สิทธิ CL หรือสิทธิเหนือสิทธิบัตรยาในการเข้าถึงยาบางชนิดทำให้สามารถเข้าถึงยาในราคาถูกว่าในท้องตลาดยกตัวอย่างเช่น ยาต้านเชื้อไวรัส HIV และ ยารักษามะเร็ง 

ซึ่งการใช้สิทธิ CL ทำให้คนไทยในจำนวนมากในระบบหลักหรือประกันสุขภาพหรือบัตรทองสามารถเข้าถึงยาที่จำเป็นได้อย่างเท่าเทียมไม่ว่าคนๆนั้นจะมีฐานะร่ำรวบหรือยากจนแต่ข้อตกลงที่CPTPPให้ความสำคัญกับเรื่องทรัพย์สินทางปัญญาและการแข่งขันที่เป็นธรรมทางการค้า

ดังนั้นถ้าใครเข้าร่วมข้อตกลงนี้ก็อาจจะต้องทำให้รัฐต้องยกการใช้สิทธิ CL ในการเข้าถึงยานอกจากนั้นแล้วการเข้าร่วมCPTPPอาจทำให้คนไทยเข้าถึงยาชื้อสามัญได้ยากขึ้นต้อนอธิบายก่อนว่าโดยปกติแล้วเวลาบริษัทยาแห่งหนึ่งคิดขนยาตัวใหม่ขึ้นมาแล้วนำเอาไปจดสิทธิบัตรยาตัวนั้นจะเรียกเป็นยาต้นแบบ 

โดยยาต้นแบบจะได้รับสิทธิคุ้มครองเป็นเวลา20ปีซึ่งบริษัทที่เป็นเจ้าของสิทธิบัตรสามารถนำเอาไปใช้ประโยชน์ทางการค้าได้ทำให้ยาต้นแบบส่วนใหญ่จะมีราคาแพลงแต่หลังจากครบ20ปีแล้วยาตัวนั้นจะกลายมาเป็นตัวยาทั่วไปที่ไม่มีใครมาอ้างว่าเป็นสิทธิแต่เพียงผู้เดียวได้ทำให้บริษัทอื่นๆสามารถบริษัทยาที่มีคุณสมบัตรคล้ายกันแต่ราคาถูกกว่าหลายเท่ามาจำหน่ายในท้องตลาดได้

นอกจากนี้ยาประเภทนี้จะเรียกชื่อยาว่า ยาสามัญ แต่ในความตกลงCPTPPมีข้อกำหนดบางอย่างที่อาจจะเปิดช่องให้บริษัทยาขอต่ออายุต้นแบบออกไปได้นานกว่าเดิมหรือหมายความว่าประชาชนทั่วๆไปก็จะเข้าถึงยาชื่อสามัญที่มีราคาถูกลงได้ช้ากว่าเดิม

สุดท้ายจะเป็นผลกระทบทางด้านการค้าการลงทุนการเข้าร่วมCPTPPไทยจะต้องเปิดเสรีการค้าสูงสุดถึง99%แน่นอนว่าจะทำให้เราสามารถส่งออกสินค้าบางอย่างได้เพิ่มขึ้นแต่ในทางกลับกันสินค้าจากต่างประเทศก็จะไหลเข้ามาตีตลาดไทยเช่นกันแล้วคนที่จะได้รับผลกระทบมาที่สุดก็คือ SME 

ข้อกังวลถัดมาเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างโดยภาครัฐ เนื่องจากปัจจุบันภาครัฐบาลได้ให้สิทธิพิเศษให้กับหน่วยงานบางแห่งเพื่อประโยชน์ในการดำเนินนโยบายสาธารณะยกตัวอย่างเช่น องค์การเภสัชกรรมที่ได้สิทธิพิเศษในการจัดซื้อยาและเวชพันธ์ให้กับภาครัฐบาล

ถ้าไทยได้เข้าร่วมโครงการCPTPPรัฐจะต้องยกเลิกสิทธิพิเศษเหล่านี้แล้วปล่อยให้องค์การเภสัชกรรมได้แข่งขันกับบริษัทเอกชนอย่างเป็นธรรมตามกลไกรของตลาด

ดังนั้นแล้วสิ่งที่จะตามมาก็อาจจะเป็นไปได้ว่าราคายาอาจจะแพงขึ้นข้อกังวลสุดท้ายเกี่ยวกับนโยบาลห้ามใช้นโยบายOffset ในการจัดซื้อจัดจ้างของทางภาครัฐบาลและจะต้องอธิบายก่อนว่านโยบายOffsetคือนโยบายที่กำหนดให้เอกชนเป็นที่ชนะโครงการขนาดใหญ่ของรัฐบาลจะต้องทำตามเงื่อนไขบางอย่างด้วย

 

สนับสนุนโดย.   ufabet เว็บไหนดี